วันศุกร์ที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2555

ปลาหมอสี "ครอสบรีด"
ปลาหมอสีครอสบรีด คือ การที่มนุษย์นำเอาปลาหมอสีที่ต่างสายพันธุ์กัน มาผสมพันธุ์กันเพื่อสร้างสายพันธุ์ใหม่ให้มีความสวยงามมากขึ้น  โดยนำเอาจุดเด่นของสายพันธุ์หนึ่ง มาผสมกับจุดเด่นของอีกสายพันธุ์หนึ่ง โดยในการทด ลอง บางทีการผสมพันธุ์อาจได้ปลาตรงตามที่จินตนาการไว้ หรืออาจจะไม่ตรงเลยก็ได้ เช่น การนำปลาหมอสีสายพันธุ์หนึ่งที่มีโทนสีแดง หัวโหนก ลำตัวใหญ่ มาผสมกับปลาหมอสีอีกสายพันธุ์หนึ่งที่มีลักษณะหน้าสั้น หัวโหนก กระโหลกใหญ่ เพื่อให้ได้ปลาที่หัวโหนก ลำตัวใหญ่ กระโหลกใหญ่ และมีสีแดง แต่ผลที่ได้จริงกลับมีความหลากหลายกว่าที่คิดไว้ โดยมีส่วนหนึ่งตรงตามจินตนาการ แต่อีกส่วนหนึ่งผิดเพี้ยนไป กลายเป็นปลาลำตัวสั้น หน้าหักบ้างก็มี การผสมพันธุ์ปลาแบบข้ามสายพันธุ์จึงสรุปได้ว่าเป็นอะไรที่ไม่มีความแน่นอน คนจึงเรียกปลาพวกนี้ว่าเป็น "ปลาเปอร์เซ็นต์" ซึ่งผู้ที่จะเพาะพันธุ์ให้ได้ปลาสวยๆ ต้องอาศัยประสบการณ์ และระยะเวลาในการพัฒนาความสวยงามเป็นอย่างมาก ผู้ที่คิดจะเลี้ยงปลาหมอสีครอสบรีดจึงควรต้องศึกษาหาความรู้ให้ดีเสียก่อน เพราะความไม่แน่นอนของมัน อาจทำให้คุณผิดหวังเมื่อมันโตขึ้นมา

 

ปลาหมอสีครอสบรีดที่ได้รับความนิยม

ปลาหมอสี "ฟลาวเวอร์ฮอร์น"
เป็นปลาหมอสีที่ผสมข้ามสายพันธุ์ระหว่าง "ปลาหมอไตรมาคูลาตัส" (Nandopsis trimaculatus) ที่มีลวดลายมาร์กกิ้งสวยงาม ผสมกับ "ปลาหมอเรดเดวิล"  (Amphilophus citrinellus) ซึ่งมีสีแดงส้มและมีหัวโหนก แต่ในปัจจุบันมีการผสมข้ามกับสายพันธุ์อื่นๆอีก ฟลาวเวอร์ฮอร์นจึงมีรูปแบบที่หลากหลายไปอีกไม่ต่ำกว่า 20 ชนิด ขึ้นอยู่กับความชอบของแต่ละคน ไม่ว่าจะเป็นพันธุ์ที่หัวโหนกพิเศษ หรือบางสายพันธุ์ก็พัฒนาทางด้านของมุกตามลำตัว ให้มีมากขึ้นและมีความแวววาว หรือบางคนก็จะชอบฟลาวเวอร์ฮอร์นที่มีสีแดงสด สลับกับมุกที่แวววาว ซึ่งทั้งหมดก็ขึ้นอยู่กับการพัฒนาสายพันธุ์ทั้งสิ้น
ปลาหมอสี "ไตรทอง"
เป็นปลาหมอสีที่เกิดขึ้นจากนักเพาะพันธุ์ของเมืองไทยเรานี่เอง โดยมีต้นกำเนิดมาจาก "ปลาหมอไตรมาคูลาตัส"  (Nandopsis trimaculatus) ในปัจจุบันนักเพาะพันธุ์ต่างๆ ได้พยายามพัฒนาสายพันธุ์ โดยนำมาผสมข้ามสายพันธุ์กับปลาสายอื่น ๆ เพื่อเพิ่มลักษณะเด่นให้ชัดเจนยิ่งขึ้น ปลาหมอสีไตรทองดั้งเดิมจะมีลักษณะเป็นสีเหลืองทอง เรียบเนียน ลำตัวหนา โครงใหญ่ ครีบปลามีขนาดใหญ่พริ้วสวยงาม บริเวณส่วนหน้า และส่วนลำคอจะมีสีแดงสด ตัดกันกับสีเหลืองได้อย่างสวยงาม สำหรับคนที่ชอบปลาหมอสีไตรทอง จะนิยมปลาที่มีทรงสั้น หนา และลำตัวกว้าง ส่วนหัวมีความโหนก ส่วนของสีตามลำตัวต้องสดตัดกันไม่ซีด

ปลาหมอสี "เท็กซัสแดง"

เป็นปลาข้ามสายพันธุ์อีกชนิดหนึ่งที่ได้จากการผสมพันธุ์ระหว่างพ่อ "เท็คซัสเขียว" (Herichys Carpinte) เป็นหลัก ผสมพันธ์กับแม่พันธ์ปลาหมอสีที่ลอกสีผิวเป็นสีแดงเช่น "นกแก้ว" ( Red Parrot ) "เรดเดวิล" (Red devil) "คิงคอง" "ซินแดง" จึงจะได้ลูกปลาออกมาเป็น "เท็กซัสแดง" เมื่อยังมีขนาดเล็กจะมีลักษณะเหมือนปลาหมอสีทั่วไปคือตัวมีสีผิวออกน้ำตาลถึงเกือบดำ และจะค่อยๆ ลอกผิวออกจนหมด โดยจะเห็นผิวชั้นในเป็นสีส้มจนถึงแดง แต่ละตัวจะมีลายแตกต่างกัน เท็กซัสแดงเป็นปลาหมอสีที่ต้องใช้ระยะเวลาในการลอก บางตัวก็ลอกเร็ว บางตัวก็ลอกช้า บางตัวอาจมีขนาดเกือบเต็มวัยแล้วค่อยลอกก็มี
ปลาหมอสี "ครอสบรีด"
ปลาหมอสีครอสบรีด คือ การที่มนุษย์นำเอาปลาหมอสีที่ต่างสายพันธุ์กัน มาผสมพันธุ์กันเพื่อสร้างสายพันธุ์ใหม่ให้มีความสวยงามมากขึ้น  โดยนำเอาจุดเด่นของสายพันธุ์หนึ่ง มาผสมกับจุดเด่นของอีกสายพันธุ์หนึ่ง โดยในการทด ลอง บางทีการผสมพันธุ์อาจได้ปลาตรงตามที่จินตนาการไว้ หรืออาจจะไม่ตรงเลยก็ได้ เช่น การนำปลาหมอสีสายพันธุ์หนึ่งที่มีโทนสีแดง หัวโหนก ลำตัวใหญ่ มาผสมกับปลาหมอสีอีกสายพันธุ์หนึ่งที่มีลักษณะหน้าสั้น หัวโหนก กระโหลกใหญ่ เพื่อให้ได้ปลาที่หัวโหนก ลำตัวใหญ่ กระโหลกใหญ่ และมีสีแดง แต่ผลที่ได้จริงกลับมีความหลากหลายกว่าที่คิดไว้ โดยมีส่วนหนึ่งตรงตามจินตนาการ แต่อีกส่วนหนึ่งผิดเพี้ยนไป กลายเป็นปลาลำตัวสั้น หน้าหักบ้างก็มี การผสมพันธุ์ปลาแบบข้ามสายพันธุ์จึงสรุปได้ว่าเป็นอะไรที่ไม่มีความแน่นอน คนจึงเรียกปลาพวกนี้ว่าเป็น "ปลาเปอร์เซ็นต์" ซึ่งผู้ที่จะเพาะพันธุ์ให้ได้ปลาสวยๆ ต้องอาศัยประสบการณ์ และระยะเวลาในการพัฒนาความสวยงามเป็นอย่างมาก ผู้ที่คิดจะเลี้ยงปลาหมอสีครอสบรีดจึงควรต้องศึกษาหาความรู้ให้ดีเสียก่อน เพราะความไม่แน่นอนของมัน อาจทำให้คุณผิดหวังเมื่อมันโตขึ้นมา

 

ปลาหมอสีครอสบรีดที่ได้รับความนิยม

ปลาหมอสี "ฟลาวเวอร์ฮอร์น"
เป็นปลาหมอสีที่ผสมข้ามสายพันธุ์ระหว่าง "ปลาหมอไตรมาคูลาตัส" (Nandopsis trimaculatus) ที่มีลวดลายมาร์กกิ้งสวยงาม ผสมกับ "ปลาหมอเรดเดวิล"  (Amphilophus citrinellus) ซึ่งมีสีแดงส้มและมีหัวโหนก แต่ในปัจจุบันมีการผสมข้ามกับสายพันธุ์อื่นๆอีก ฟลาวเวอร์ฮอร์นจึงมีรูปแบบที่หลากหลายไปอีกไม่ต่ำกว่า 20 ชนิด ขึ้นอยู่กับความชอบของแต่ละคน ไม่ว่าจะเป็นพันธุ์ที่หัวโหนกพิเศษ หรือบางสายพันธุ์ก็พัฒนาทางด้านของมุกตามลำตัว ให้มีมากขึ้นและมีความแวววาว หรือบางคนก็จะชอบฟลาวเวอร์ฮอร์นที่มีสีแดงสด สลับกับมุกที่แวววาว ซึ่งทั้งหมดก็ขึ้นอยู่กับการพัฒนาสายพันธุ์ทั้งสิ้น
ปลาหมอสี "ไตรทอง"
เป็นปลาหมอสีที่เกิดขึ้นจากนักเพาะพันธุ์ของเมืองไทยเรานี่เอง โดยมีต้นกำเนิดมาจาก "ปลาหมอไตรมาคูลาตัส"  (Nandopsis trimaculatus) ในปัจจุบันนักเพาะพันธุ์ต่างๆ ได้พยายามพัฒนาสายพันธุ์ โดยนำมาผสมข้ามสายพันธุ์กับปลาสายอื่น ๆ เพื่อเพิ่มลักษณะเด่นให้ชัดเจนยิ่งขึ้น ปลาหมอสีไตรทองดั้งเดิมจะมีลักษณะเป็นสีเหลืองทอง เรียบเนียน ลำตัวหนา โครงใหญ่ ครีบปลามีขนาดใหญ่พริ้วสวยงาม บริเวณส่วนหน้า และส่วนลำคอจะมีสีแดงสด ตัดกันกับสีเหลืองได้อย่างสวยงาม สำหรับคนที่ชอบปลาหมอสีไตรทอง จะนิยมปลาที่มีทรงสั้น หนา และลำตัวกว้าง ส่วนหัวมีความโหนก ส่วนของสีตามลำตัวต้องสดตัดกันไม่ซีด

ปลาหมอสี "เท็กซัสแดง"

เป็นปลาข้ามสายพันธุ์อีกชนิดหนึ่งที่ได้จากการผสมพันธุ์ระหว่างพ่อ "เท็คซัสเขียว" (Herichys Carpinte) เป็นหลัก ผสมพันธ์กับแม่พันธ์ปลาหมอสีที่ลอกสีผิวเป็นสีแดงเช่น "นกแก้ว" ( Red Parrot ) "เรดเดวิล" (Red devil) "คิงคอง" "ซินแดง" จึงจะได้ลูกปลาออกมาเป็น "เท็กซัสแดง" เมื่อยังมีขนาดเล็กจะมีลักษณะเหมือนปลาหมอสีทั่วไปคือตัวมีสีผิวออกน้ำตาลถึงเกือบดำ และจะค่อยๆ ลอกผิวออกจนหมด โดยจะเห็นผิวชั้นในเป็นสีส้มจนถึงแดง แต่ละตัวจะมีลายแตกต่างกัน เท็กซัสแดงเป็นปลาหมอสีที่ต้องใช้ระยะเวลาในการลอก บางตัวก็ลอกเร็ว บางตัวก็ลอกช้า บางตัวอาจมีขนาดเกือบเต็มวัยแล้วค่อยลอกก็มี
ปลาหมอสี "ครอสบรีด"
ปลาหมอสีครอสบรีด คือ การที่มนุษย์นำเอาปลาหมอสีที่ต่างสายพันธุ์กัน มาผสมพันธุ์กันเพื่อสร้างสายพันธุ์ใหม่ให้มีความสวยงามมากขึ้น  โดยนำเอาจุดเด่นของสายพันธุ์หนึ่ง มาผสมกับจุดเด่นของอีกสายพันธุ์หนึ่ง โดยในการทด ลอง บางทีการผสมพันธุ์อาจได้ปลาตรงตามที่จินตนาการไว้ หรืออาจจะไม่ตรงเลยก็ได้ เช่น การนำปลาหมอสีสายพันธุ์หนึ่งที่มีโทนสีแดง หัวโหนก ลำตัวใหญ่ มาผสมกับปลาหมอสีอีกสายพันธุ์หนึ่งที่มีลักษณะหน้าสั้น หัวโหนก กระโหลกใหญ่ เพื่อให้ได้ปลาที่หัวโหนก ลำตัวใหญ่ กระโหลกใหญ่ และมีสีแดง แต่ผลที่ได้จริงกลับมีความหลากหลายกว่าที่คิดไว้ โดยมีส่วนหนึ่งตรงตามจินตนาการ แต่อีกส่วนหนึ่งผิดเพี้ยนไป กลายเป็นปลาลำตัวสั้น หน้าหักบ้างก็มี การผสมพันธุ์ปลาแบบข้ามสายพันธุ์จึงสรุปได้ว่าเป็นอะไรที่ไม่มีความแน่นอน คนจึงเรียกปลาพวกนี้ว่าเป็น "ปลาเปอร์เซ็นต์" ซึ่งผู้ที่จะเพาะพันธุ์ให้ได้ปลาสวยๆ ต้องอาศัยประสบการณ์ และระยะเวลาในการพัฒนาความสวยงามเป็นอย่างมาก ผู้ที่คิดจะเลี้ยงปลาหมอสีครอสบรีดจึงควรต้องศึกษาหาความรู้ให้ดีเสียก่อน เพราะความไม่แน่นอนของมัน อาจทำให้คุณผิดหวังเมื่อมันโตขึ้นมา

 

ปลาหมอสีครอสบรีดที่ได้รับความนิยม

ปลาหมอสี "ฟลาวเวอร์ฮอร์น"
เป็นปลาหมอสีที่ผสมข้ามสายพันธุ์ระหว่าง "ปลาหมอไตรมาคูลาตัส" (Nandopsis trimaculatus) ที่มีลวดลายมาร์กกิ้งสวยงาม ผสมกับ "ปลาหมอเรดเดวิล"  (Amphilophus citrinellus) ซึ่งมีสีแดงส้มและมีหัวโหนก แต่ในปัจจุบันมีการผสมข้ามกับสายพันธุ์อื่นๆอีก ฟลาวเวอร์ฮอร์นจึงมีรูปแบบที่หลากหลายไปอีกไม่ต่ำกว่า 20 ชนิด ขึ้นอยู่กับความชอบของแต่ละคน ไม่ว่าจะเป็นพันธุ์ที่หัวโหนกพิเศษ หรือบางสายพันธุ์ก็พัฒนาทางด้านของมุกตามลำตัว ให้มีมากขึ้นและมีความแวววาว หรือบางคนก็จะชอบฟลาวเวอร์ฮอร์นที่มีสีแดงสด สลับกับมุกที่แวววาว ซึ่งทั้งหมดก็ขึ้นอยู่กับการพัฒนาสายพันธุ์ทั้งสิ้น
ปลาหมอสี "ไตรทอง"
เป็นปลาหมอสีที่เกิดขึ้นจากนักเพาะพันธุ์ของเมืองไทยเรานี่เอง โดยมีต้นกำเนิดมาจาก "ปลาหมอไตรมาคูลาตัส"  (Nandopsis trimaculatus) ในปัจจุบันนักเพาะพันธุ์ต่างๆ ได้พยายามพัฒนาสายพันธุ์ โดยนำมาผสมข้ามสายพันธุ์กับปลาสายอื่น ๆ เพื่อเพิ่มลักษณะเด่นให้ชัดเจนยิ่งขึ้น ปลาหมอสีไตรทองดั้งเดิมจะมีลักษณะเป็นสีเหลืองทอง เรียบเนียน ลำตัวหนา โครงใหญ่ ครีบปลามีขนาดใหญ่พริ้วสวยงาม บริเวณส่วนหน้า และส่วนลำคอจะมีสีแดงสด ตัดกันกับสีเหลืองได้อย่างสวยงาม สำหรับคนที่ชอบปลาหมอสีไตรทอง จะนิยมปลาที่มีทรงสั้น หนา และลำตัวกว้าง ส่วนหัวมีความโหนก ส่วนของสีตามลำตัวต้องสดตัดกันไม่ซีด

ปลาหมอสี "เท็กซัสแดง"

เป็นปลาข้ามสายพันธุ์อีกชนิดหนึ่งที่ได้จากการผสมพันธุ์ระหว่างพ่อ "เท็คซัสเขียว" (Herichys Carpinte) เป็นหลัก ผสมพันธ์กับแม่พันธ์ปลาหมอสีที่ลอกสีผิวเป็นสีแดงเช่น "นกแก้ว" ( Red Parrot ) "เรดเดวิล" (Red devil) "คิงคอง" "ซินแดง" จึงจะได้ลูกปลาออกมาเป็น "เท็กซัสแดง" เมื่อยังมีขนาดเล็กจะมีลักษณะเหมือนปลาหมอสีทั่วไปคือตัวมีสีผิวออกน้ำตาลถึงเกือบดำ และจะค่อยๆ ลอกผิวออกจนหมด โดยจะเห็นผิวชั้นในเป็นสีส้มจนถึงแดง แต่ละตัวจะมีลายแตกต่างกัน เท็กซัสแดงเป็นปลาหมอสีที่ต้องใช้ระยะเวลาในการลอก บางตัวก็ลอกเร็ว บางตัวก็ลอกช้า บางตัวอาจมีขนาดเกือบเต็มวัยแล้วค่อยลอกก็มี

การเลี้ยงปลาทะเลในตู้

การเลี้ยงปลาทะเลในตู้




การเลี้ยงปลาทะเลในตู้ (nicaonline)

          การเลี้ยงปลาทะเลในตู้  สิ่งสำคัญอันดับแรก ๆ ของการเลี้ยงปลาสวยงามโดยเฉพาะปลาทะเล คือสี่งที่อยู่ในช่องกรองก็มีอยู่หลายชนิดที่นิยมใช้ เช่น เศษปะการัง เปลือกหอย ไบโอบอล ไบโอริง ใส่เพื่อเป็นที่อยู่อาศัยของแบคทีเรียในการย่อยสลายของเสียที่เกิดขึ้นในน้ำ การออกแบบวัสดุต่าง ๆ ส่วนมากจะออกแบบมาให้มีพื้นที่หน้าสัมผัสมากกว่าปกติ เพื่อสร้างเป็นที่อยู่อาศัยของแบคทีเรีย และเพิ่มปริมาณออกซิเจนในระบบ วัสดุกรองเหล่านี้มีความแตกต่างกัน ดังนี้

เศษประการัง

          คุณสมบัติที่ดีของเศษปะการัง  คือ  มีรูพรุนมาก การใส่เศษปะการังควรที่จะใส่เบอร์ใหญ่ด้านล่าง แล้วค่อยไล่ขึ้นมาเป็นเบอร์ละเอียด การใช้วัสดุชนิดนี้ระบบภายในตู้จะอยู่ตัวเร็วกว่าวัสดุชนิดอื่น แต่จะมีปัญหาเศษฝุ่น แก้ไขโดยการใช้ใยแก้วเป็นตัวกรองด้านบน อีกปัญหาหนึ่งคือสารเคมีที่ใช้ฟอกขาว ดังนั้นก่อนนำวัสดุชนิดนี้มาใช้ควรแช่น้ำไว้ก่อน

ไบโอบอล  

          ไบโอบอล เป็นวัสดุที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้ทดแทนปะการัง ผิวหน้าของไบโอบอลจำนวนมากเป็นที่อยู่อาศัยอย่างดีของแบคทีเรียเช่นเดียวกับรูพรุนของเศษปะการัง และไบโอบอลมีน้ำหนักเบา ซึ่งมีความสะดวกมากในการใช้งาน ราคาจะถูกกว่าเศษปะการัง และที่สำคัญไม่ผิดกฏหมายด้วย

ไบโอริง

          เป็นวัสดุที่สร้างขึ้นมาเลียนแบบเศษปะการังซึ่งนับเป็นวัสดุที่มีความใกล้เคียงเรื่องคุณสมบัติ โดยเฉพาะเรื่องรูพรุนที่เป็นที่อยู่อาศัยของแบคทีเรีย  แต่กลับไม่นิยมใช้เพราะราคาของไบโอริงแพงมาก แต่ด้วยประสิทธิภาพสูง ไบโอริงจึงเป็นทางเลือกที่ดีอีกทางหนึ่ง

เปลือกหอย

          เปลือกหอยเป็นวัสดุที่หาง่ายราคาถูก ระบบภายในตู้เกิดการเซตตัวได้เร็ว เหมาะสำหรับคนที่ทุนน้อยแต่ใจรัก

ระบบกรองน้ำ

          ระบบกรองน้ำตู้ปลาทะเลเป็นส่วนประกอบที่สำคัญในระบบปิด เพื่อที่จะใช้จัดการกับของเสียของสิ่งมีชีวิต เพื่อให้สภาพน้ำในระบบมีความใกล้เคียงกับสภาพน้ำในธรรมชาติมากที่สุด โดยได้มีการออกแบบช่องกรอง วัสดุกรอง การบังคับทิศทางการไหลของน้ำ สถาพโครงสร้างทางนิเวศ์จำลองในตู้ 
 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น